 |
[ แสดงกระทู้ท้งหมด]
เหตุเกิดเมื่อเช้า
ความคิดเห็นที่ : 2
ฉะนั้นการที่เราจะออกแบบ ตารางจะต้องเอาหลักการสมมาตรแนวเฉียง และหลักการแบ่ง 4 ส่วน
สมมาตรแนวเฉียง เช่น เรายืดแนวเฉียง ก8,ข7,ค6,ง5,จ4,ฉ3,ช2,ญ1 8 ตา แบ่งกระดานเป็น 2 ฝั่งๆละ (64- /2=28
ตาราง
หลักการแบ่ง 4 ส่วน ควอเตอร์ ๆละ 16 ตา
หลักการทั้งสองเอามาใช้ประกอบ 4 กรณีในการสร้างตารางแสดงตำแหน่งไล่เรือทุกอณูพื้นที่
กรณี 1 วางเรือขาว และขุนดำในแนวเส้นเฉียง
กรณี 2 วางเรือขาวแนวเฉียง และ ขุนดำนอกแนวเฉียง
กรณี 3 วางเรือขาวนอกแนวเฉียง และ ขุนดำในแนวเฉียง
กรณี 4 วางเรือขาว และขุนดำนอกแนวเฉียง
ทั้ง 4 กรณีเมื่อ อาศัยหลักการควอเตอร์ แนวเฉียงของเรือคือ
ตา จ4,ฉ3,ช2,ญ1 นอกแนวเฉียงเรือคือ ญ2,ญ3,ช3,ญ4,ช4,จ4
เมื่อเช้าผมลองคำนวนและทดลองวางตำแหน่งดูแล้ว คำนวนออกมาทำได้ เลยอยากถามเพื่อนในเวปว่าจะทำได้กี่ตาราง |
โดย : โคนหนุน   [ 19/10/2007, 12:21:23 ] |
ความคิดเห็นที่ : 6
ขออธิบายท่านอีก 4 Rep.
ภาพใน ความเห็น 6 คือ เราวางเรือขาวแนวทะแยง ที่ตำแหน่ง
ญ1,ช2,ฉ3,จ4 และวางขุนดำในตาทะแยงที่เหลือ เช่น ร ญ1ข ช2,ร ญ1 ข ฉ2,...,ร ช2 ข ญ1,ร ช2 ข ฉ3,...,...
โดยที่ตำแหน่งที่เหลือนอกขอบเขตขุนดำเราจะใช้เป็นตำแหน่งของขุนขาว
ภาพใน ความเห็น 7 คือ เราวางเรือขาวแนวทะแยง ที่ตำแหน่ง
ญ1,ช2,ฉ3,จ4 ตำแหน่งขุนดำนอกแนวทะแยงและนอกแนวเรือเช่น ร จ4 ข ญ2,ร จ4 ข ญ3,ร จ4 ข ช3,ร จ4 ข
ญ5,...,...
โดยที่ตำแหน่งที่เหลือนอกขอบเขตขุนดำเราจะใช้เป็นตำแหน่งของขุนขาว
ภาพใน ความเห็น 8 คือ เราวางขุนดำแนวทะแยง ที่ตำแหน่ง
ญ1,ช2,ฉ3,จ4,ง5,ค6,ข7,ก8 ตำแหน่งเรือขาวนอกแนวทะแยงและนอกแนวเรือเช่น ข ข7 ร ญ2,ข ข7 ร ญ3,ข ข7 ร ช3
,...,ข ข7 ร ฉ4 โดยที่ตำแหน่งที่เหลือนอกขอบเขตขุนดำเราจะใช้เป็นตำแหน่งของขุนขาว
ภาพใน ความเห็น 9 คือ เราวางเรือขาวนอกแนวทะแยง ที่ตำแหน่ง
ญ2,ญ3,ช3,ญ4,ช4,ฉ4 ตำแหน่งขุนดำนอกแนวทะแยงและนอกแนวเรือเช่น ร ญ3ข ช4,ร ญ3ข ฉ4,ร ญ3ข ช5,...,...
โดยที่ตำแหน่งที่เหลือนอกขอบเขตขุนดำเราจะใช้เป็นตำแหน่งของขุนขาว
ภาพใน ความเห็น 10 คือ เมื่อประมวลผลจากตำแหน่งขุนขาว จะเห็นว่าถ้าวางขุนขาวในตำแหน่ง ก8 ,ข8 ,ญ8 ,ญ7
จะไม่จนตามหมากรุกไทยเพราะขาวใช้ตาเดินเกิน 14 ตา = เกินนับศักดิ์ 16 ของดำ
|
โดย : โคนหนุน   [ 19/10/2007, 16:36:55 ] |
|
ขนส่งสินค้าจากจีน |
|
E-mail: webmaster@thaibg.com
|
Copyright 2002-2023 ThaiBG.com, All Rights Reserved |
|
|
|
|